50. การเก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์ธาตุอาหารพืช
โดย ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ (26/08/55)
ตัวอย่างดินต้องเป็นตัวแทนของพื้นที่ที่จะตรวจสอบธาตุอาหารพืชในดิน อุปกรณ์และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่างดินต้องสะอาด ตัวอย่างดินแต่ละตัวอย่างต้องเป็นตัวแทนของพื้นที่ที่มีความสม่ำเสมอ และขนาดของพื้นที่ ไม่ควรเกิน 25 ไร่
49. เกษียณสองรอบ
โดย นสพ.ไทยโพสต์ (06/02/55)
อายุเป็นเพียงตัวเลข (สมมติ) หากบอกว่าวัยเท่าโน้น เท่านี้ แต่ใจยังสั่งมา สั่งให้ทำตัวสดชื่น หน้าตาก็จะสดใส ไม่มีใครทายถูกว่าวัยเป็นเท่าใดกัน เพราะล้วนเข้าวัย ยัง "ยังแอทฮาร์ด"
48. เจ้าแม่ปุ๋ยสั่งตัด
โดย นสพ.ไทยโพสต์ (02/02/55)
เป็นเด็กเรียนดี ที่อยากเป็นคุณหมอ แต่ติดเกษตรศาสตร์ จึงนับเป็นโชคดี ที่เรียนแล้วชอบ กลายเป็นเด็กวิทยาศาสตร์ ที่มาช่วยคิดระบบให้พี่น้องเกษตรกรได้อย่างเหมาะเจาะ
47. ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ด้วยปุ๋ยสั่งตัด
โดย ประชาคมวิจัย ฉบับที่ 101 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2555 (01/01/55)
สิ่งที่เราไปบอก ไปสอน ไปเหนื่อย แล้วทำให้เกษตรกรเหล่านั้นได้รับประโยชน์ ถึงแม้จะเพียงนิดเดียว ก็ทำให้เรารู้สึกมีความสุขมาก
46. ปุ๋ยสั่งตัด รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น สกว. ประจำปี 2554
โดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (26/01/55)
เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2555 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้จัดพิธีมอบโล่เกียรติยศผลงานวิจัยเด่น สกว. ประจำปี 2554 รางวัลรับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น ประเภทกลุ่มงานวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยี “ปุ๋ยสั่งตัด” เพื่อลดต้นทุน
45. ปุ๋ยสั่งตัดแบบจำลองพัฒนาคำแนะนำเพื่อความแม่นยำ
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/01/55)
คำแนะนำปุ๋ยสั่งตัดเป็นเรื่องใหม่สำหรับเกษตรกร ทั้งๆ ที่เกษตรกรในประเทศที่พัฒนาแล้ว ได้ใช้แบบจำลองการปลูกพืชหรือนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้อย่างกว้างขวาง
44. แต่งเติมธาตุอาหารพืชด้วย...'ปุ๋ยสั่งตัด' เพื่อลดต้นทุนการผลิต
โดย นสพ.เดลินิวส์ (06/09/54)
ธาตุ อาหารพืช นับเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพืช แต่ขณะเดียวกันธาตุอาหารในดินจะสูญเสียไปกับผลผลิตพืชที่เก็บเกี่ยวออกไปมากที่สุดด้วยโดยเฉพาะ พื้นที่การเกษตรที่ปลูกพืชติดต่อกันอย่างยาวนาน
43. เตรียมพร้อมสู่ 'ปุ๋ยสั่งตัด' ลดต้นทุนการผลิตกันเถอะ
โดย นสพ.เดลินิวส์ (30/08/54)
การใช้ปุ๋ยให้คุ้มค่า เกษตรกรต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการใช้ปุ๋ยให้ “ถูกชนิด ถูกปริมาณ ถูกเวลา และถูกวิธี” แต่ขณะนี้เกษตรกรไทยเกือบ 100%ไม่มีการตรวจวิเคราะห์เอ็น-พี-เค ในดินก่อนปลูกพืช ทั้งยังใส่ปุ๋ยไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
42. วิกฤติ...ปุ๋ยแพง คนไทยใช้ปุ๋ยไม่คุ้มเงิน
โดย นสพ.ไทยรัฐ (26/05/54)
ปุ๋ยแพง...พืชผักอาหารในการดำรงชีวิต ต่างๆพลอยมีราคาแพงตามไปด้วย ด้วยปุ๋ยเป็นปัจจัยพื้นฐานในการผลิตอาหารทุกชนิด ไม่เว้นเนื้อสัตว์ เพราะต้องพึ่งปุ๋ยเพาะปลูกพืชมาทำอาหารเลี้ยงสัตว์
41. โครงการปุ๋ยลดต้นทุน : "จุดเปลี่ยน" การใช้ปุ๋ยเคมีในประเทศไทย
โดย ดร.ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ (13/05/54)
ในบรรดาปัจจัยที่ใช้ในการเพาะปลูกพืช เกษตรกรรู้จักดินรู้จักปุ๋ยน้อยที่สุด เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของดิน มีความสลับซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา รวมทั้งปุ๋ยเคมีที่ขึ้นทะเบียนเพื่อผลิตขายในท้องตลาดมีเกือบ 800 สูตร
40. เกษตรยุคใหม่: ลดต้นทุนปุ๋ยในข้าวโพด
โดย รศ.ดร.พีรเดช ทองอำไพ นสพ.คมชัดลึก (05/04/53)
ต้นทุนในการผลิตข้าวโพดของหลายอำเภอในพิษณุโลก ที่พบว่าเกือบครึ่งหนึ่งเป็นต้นทุนค่าปุ๋ยเคมี หากปล่อยให้เป็นอย่างนี้ต่อไปก็มีแต่จะขาดทุน พอดี สกว. เคยสนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยในข้าวโพดตามค่าการวิเคราะห์ดินและตามความต้องการของข้าวโพดในดินแต่ละชนิด
39. ทางรอดของชาวนาไทย
โดย ดร.ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ (25/12/52)
ทางเลือกใหม่ที่ชาวนาไทยทำได้จริง ผ่านการปฏิบัติแล้วในหลายจังหวัด ทั้งวิธีคิด วิธีปฏิบัติ ความแตกต่างระหว่างการใช้ปุ๋ยข้าวแบบเสื้อโหลและสั่งตัด พบสาระหลักคิด หลักวิชา หลักปฏิบัติ ตัวอย่าง ข้อเสนอแนะ
38. พบนักวิจัยปุ๋ยสั่งตัด ฟื้นรายได้เกษตรกรไทย
โดย ไทยรัฐออนไลน์ (11/11/52)
ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ ผู้คว้ารางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นประเภททีมปี 52 มุ่งวิจัยใช้ในมันสำปะหลังหลังสำเร็จในข้าว ข้าวโพด อ้อย วอนเกษตรจ.ช่วยสานต่อ ตั้งเป้าเกษตรกรไทยรวย...
37. กว่าจะมาเป็นปุ๋ยสั่งตัด (2)
โดย รศ.ดร.พีรเดช ทองอำไพ นสพ.คมชัดลึก (26/10/52)
คราวที่แล้วได้เล่าให้ฟังว่าผลงานวิจัยของ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ ซึ่งทำเรื่องการใช้ปุ๋ยเคมีอย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้องในข้าวโพด และนาข้าว จนกระทั่งได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นประจำปี 2552 จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
36. กว่าจะมาเป็นปุ๋ยสั่งตัด (1)
โดย รศ.ดร.พีรเดช ทองอำไพ นสพ.คมชัดลึก (19/10/52)
เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว มีการตัดสินรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นประจำปี 2552 จากสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ในโอกาสการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ซึ่งจัดขึ้นทุกปี โดยปีนี้เป็นปีที่ 35
35. ก่อนตายอยากเห็นเกษตรกรรวยขึ้น วาทะนักเทคโนโลยีดีเด่น 52
โดย ผู้จัดการออนไลน์ (12/10/52)
ตัวแทนกลุ่ม "ปุ๋ยสั่งตัด" ผู้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น '52 เผยความในใจ ก่อนตายอยากเห็นเกษตรกรรวยขึ้น" เผยเกษตรกรไทยยังไม่รู้จักปุ๋ยและดิน แจงอบรมให้ความรู้เกษตรกรเพื่อการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมกับดิน
34.ปุ๋ยสั่งตัด รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นประจำปี พ.ศ.2552
โดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ (12/10/52)
ประวัติความเป็นมา บุคคลากรกลุ่มวิจัย กรอบแนวความคิด จุดเด่นของกลุ่มเทคโนโลยี ขั้นตอนการใช้ปุ๋ยสั่งตัด ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
33. "ปุ๋ยสั่งตัด" ช่วยเกษตรกรได้อย่างไร?
โดย ดร.ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ (02/10/52)
“การเกษตรเป็นวิทยาศาสตร์ ไม่ใช่ไสยศาสตร์” ทุกสรรพสิ่งล้วนเชื่อมโยงกันและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีนั่น เพราะมีนี่ ทำสิ่งนั้น จึงเกิดสิ่งนี้ จึงต้องไม่คิดแบบแยกส่วน หรือคิดแบบเหตุเดียวผลเดียว เพราะหนึ่งผลมาจากหลายเหตุ ต้องคิดอย่างเป็นระบบให้เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวม
32. ปุ่ยสั่งตัด เพิ่มกำไรให้ชาวนาภาคอีสานถึง 10 เท่า
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/09/52)
ประเทศไทยมีพื้นที่ทำนา 57 ล้านไร่ เฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 33 ล้านไร่ การทำนาเขตนี้มีอุปสรรคหลายประการ เช่น การกระจายของฝนไม่เอื้ออำนวยต่อการเพาะปลูก ทั้งๆ ที่ปริมาณน้ำฝนทั้งหมดไม่น้อยกว่าภาคอื่นของประเทศ
31. ปุ๋ยสั่งตัด ช่วยเพิ่มรายได้ให้ชาวไร่อ้อย
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/08/52)
การใช้ปุ๋ยสั่งตัด หรือการจัดการธาตุอหารพืชเฉพาะพื้นที่ เป็นการวิจัยที่นำข้อมูลชุดดิน ข้อมูล เอ็น-พี-เค ในดินมาประกอบการตัดสินใจเลือกสูตรปุ๋ย และกำหนดปริมาณปุ๋ยในการปลูกพืช
30. สานโครงการปุ๋ยสั่งตัดในนาข้าวอุบลราชธานี
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/07/52)
หลังจากที่ชาวนาหลายกลุ่มในภาคกลางได้ปรับเปลี่ยนมาใช้ปุ๋ยสั่งตัดในการผลิตข้าว ซึ่งช่วยลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยลงได้มาก ขณะที้ทีมวิจัยคณะเดิมยังคงดำเนินการขยายผลต่อไปในพื้นที่เขตอื่นๆ
29. ดินดีหรือดินเลว จะดูได้อย่างไร
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/06/52)
ดินเป็นสิ่งที่ใกล้ชิดกับเกษตรกรมากที่สุด แต่เกษตรกรรู้จักน้อยที่สุด ทั้งๆ ที่ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่าไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่ได้ จึงเป็นเป็นทุนที่สำคัญยิ่งในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
28. แนวทางการลดต้นทุนการผลิตข้าวของชุมชน
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/06/52)
การลดต้นทุนการผลิตข้าวจากโครงการผลิตข้าวอย่างยั่งยืนของกลุ่มชาวนา ต.เจดีย์หัก จ.ราชบุรี ที่ร่วมแรงร่วมใจพัฒนาเรียนรู้จนกระทั่งสามารถลดต้นทุนการผลิตข้าวได้มาก
27. การใช้ปุ๋ยสั่งตัดเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว
โดย วารสารเทคโนโลยีชาวบ้าน (15/04/52)
"การใช้ปุ๋ยสั่งตัด เพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว" เป็นอีกหนึ่งหัวข้อการบรรยายในการเสวนาเชิงวิชาการเกษตรและประสบการณ์ ลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต ข้าว อ้อย และมันสำปะหลัง" ซึ่งนิตยสารเทคโนโลยีบ้าน จัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
26. คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินพืชไร่ พืชผัก ไม้ผล และไม้ยืนต้น
โดย ดร.ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ (13/04/52)
ในช่วง 7 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยนำเข้าปุ๋ยเคมี เพิ่มขึ้นร้อยละ 65 จาก 2.6 ล้านตันในปี 2543 เป็น 4.3 ล้านตัน ในปี 2550 ขณะที่ผลผลิตต่อไร่ของพืชเศรษฐกิจเพิ่มไม่มากนัก และต้นทุนการผลิตเป็นค่าปุ๋ยเคมีสูงถึงร้อยละ 25 ดังนั้น การใช้ปุ๋ยเคมีให้ "ถูกสูตร ถูกปริมาณ ถูกเวลา ถูกวิธี" จึงเป็นประเด็นเร่งด่วนที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ
25. “ปุ๋ยสั่งตัด” ช่วยลดต้นทุนการผลิต
โดย ดร.ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ (13/08/52)
ในยุคเศรษฐกิจทุนนิยม เกษตรกรต้องแข่งขันทั้งด้านราคาและคุณภาพ จึงควรเร่งพัฒนาตนเองให้เป็น “มืออาชีพ” เร็วที่สุด คือ ทำการเกษตรอย่างมีเป้าหมายชัดเจน มีหลักคิดที่ถูกต้อง รวมทั้งใช้ข้อมูลและความรู้ประกอบการตัดสินใจในทุกๆ ขั้นตอน
24. กองทุนปุ๋ยสั่งตัดเพื่อชีวิตที่ดีขึ้น
โดย ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ (10/12/51)
มูลนิธิมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พิจารณาแล้วเห็นว่า ผลงานวิจัยเทคโนโลยีปุ๋ยสั่งตัดเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อเกษตรกร จึงได้จัดตั้งกองทุนปุ๋ยสั่งตัดเพื่อชีวิตที่ดีขึ้น เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2551
23. พลิกโฉมวิถีชีวิตชาวนาในยุคปุ๋ยแพง
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/10/51)
ควรเร่งพัฒนาให้ชาวนาเป็นมืออาชีพเร็วที่สุด ด้วยการวางเป้าหมายให้ชัดเจน มีหลักคิดที่ถูกต้อง ใช้ข้อมูล ความรู้ ความรอบคอบในทุกๆ ขั้นตอน เพื่อให้ชาวนาจะอยู่รอดในภาวะปุ๋ยเคมีแพง
22. ปุ๋ยสังตัด ฉีกกฏหว่านปุ๋ยทิ้ง ใช้ปุ๋ยตรงพืช ตรงดิน ลดต้นทุน
โดย นสพ.ข่าวสด (15/09/51)
เมื่อร่างกายมนุษย์จำเป็นต้องบริโภคอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ ... ผืนดินก็เช่นเดียวกัน มันจำเป็นต้องมีธาตุอาหารคอยหล่อเลี้ยงเพื่อบำรุงโครงสร้างให้อยู่ในสภาพดี และเพื่อทดแทนธาตุอาหารที่ถูกพืชดูดดึงไปใช้
21. การแก้ปัญหาราคาปุ๋ยแพง
โดย ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ (05/08/51)
ถึงแม้ในปัจจุบันผลผลิตทางการเกษตรมีราคาสูงขึ้นมาก แต่ปัจจัยการผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งปุ๋ยเคมี มีราคาสูงขึ้นในสัดส่วนที่มากกว่าหลายเท่า ทำให้ต้นทุนมีราคาสูงขึ้น เมื่อปัจจัยการผลิตมีราคาสูงก็ก่อให้เกิดการปลอมแปลงวัสดุต่างๆ โดยเฉพาะปุ๋ยเคมี
20. เกษตรยุคใหม่ - ให้ปุ๋ยแบบสั่งตัด
โดย รศ.ดร.พีรเดช ทองอำไพ นสพ.คมชัดลึก (19/05/51)
ยุคที่ปุ๋ยแพงอย่างวันนี้ ก็เลยมีหลายหน่วยงานออกมาทำหน้าที่ให้คำแนะนำต่างๆ เพื่อเป้าหมายในการลดอัตราการใช้ปุ๋ยลง มีทั้งแบบที่เอาผลงานเก่าๆ หลายปีมาแล้วมาปัดฝุ่นใหม่ มาแนะนำเพื่อให้ไม่ตกกระแส แต่ทั้งหมดนี้ ไม่น่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง
19. คิดและทำอย่างไรการเกษตรไทยจึงก้าวไกลอย่างมั่นคงยั่งยืน
โดย ดร.ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ (18/05/51)
การพัฒนาการเกษตรควรมองปัญหาอย่างเป็นองค์รวม การคิดแบบแยกส่วนเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ หลายครั้งเป็นการย้ายปัญหา และสร้างปัญหาที่แก้ไขได้ยากขึ้นในระยะยาว
18. การใช้ปุ๋ยยางอย่างคุ้มค่า
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/05/51)
การลดต้นทุนการผลิตยางควรเริ่มตั้งแต่การปลูกสร้างสวนยาง จากเลือกพื้นที่ เตรียมพื้นที่ เลือกพันธุ์ยาง วิธีการปลูกและการจัดการสวน เพื่อให้เปิดกรีดยางได้เร็วขึ้น ไปจนถึงการดูแลรักษาสวนยางหลังเปิดกรีด การกรีดยางและการจัดการผลผลิตน้ำยาง
17. ปุ๋ยสั่งตัด แก้ปัญหาปุ๋ยแพงที่ต้นเหตุ
โดย ดร.ประทีป วีรพัฒนนิรันดร์ (15/05/51)
เกษตรศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์ไม่ใช่ไสยศาสตร์ การเกษตรของประเทศไทยได้เข้าสู่ยุคทำมาค้าขายแล้ว จึงจำเป็นต้องเป็นเกษตรกรมืออาชีพ ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล ความรู้ และความรอบคอบ ถ้าไม่รู้จักดิน ไม่รู้จักปุ๋ย จะปรับปรุงบำรุงดินหรือใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร
16. รู้ดิน-รู้จักใช้ปุ๋ยทางรอดชาวนาไทย
โดย ชุลีพร อร่ามเนตร นสพ.คมชัดลึก (27/04/51)
การที่ชาวนาจะอยู่รอดได้ในวิกฤติปุ๋ยแพงต้องให้พวกเขาให้ตระหนักถึงความสำคัญของ ดินเพราะถ้าดินดี ย่อมใช้ปุ๋ยน้อย ต้นทุนการผลิตต่ำ และเร่งส่งเสริมให้ชาวนาผลิกฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของผืนนา
15. ทางรอดของชาวนาไทยในยุคปุ๋ยแพง
โดย ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ (22/04/51)
หลักคิดสำคัญ คือ พืชทุกชนิดเจริญเติบโตและให้ผลผลิตสูงเมื่อเกษตรกรสามารถจัดการให้เกิด “ความลงตัวพอดี” ระหว่างพันธุ์พืชกับปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง อาทิ ดิน ปุ๋ย น้ำ แสงแดด อุณหภูมิ ความชื้น วัชพืช โรคแมลงศัตรูพืช ฯลฯ
14. ปฏิวัติการใช้ปุ๋ย
โดย ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ (01/04/51)
นโยบายภาครัฐที่สนับสนุนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยชีวภาพเพียงอย่างเดียว โดยไม่ใช้ปุ๋ยเคมีนั้นไม่เหมาะสมกับการเกษตรของไทย เรื่องราวเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยได้ถูกนำขึ้นมาพูดคุยกันอีกครั้งโดยใช้เวทีที่มีทั้งเกษตรกร นักวิชาการและผู้เกี่ยวข้องเปิดเวทีสาธารณะ
13. มาช่วยกันพลิกโฉมการทำนาในยุคปุ๋ยแพง
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/03/51)
ยุคทุนนิยมแข่งขันเสรีเป็นยุคทองของคนที่เข้มแข็ง คนอ่อนแอจะอยู่อย่างยากลำบาก เป็นยุคที่เกษตรกรต้องแข่งขันทั้งในด้านราคาและคุณภาพของผลผลิต จึงควรเร่งพัฒนาให้เป็นมืออาชีพเร็วที่สุด
12. ชาวนากลุ่มสำนักตะค่าพัฒนากับความสุขในอาชีพ
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/01/51)
สรุปง่ายๆ ว่าชีวิตของพวกเราดีขึ้นแค่ไหน จากที่เคยทำนาลงทุนสองส่วน กว่าจะได้กำไรสักหนึ่งส่วนยังยาก แต่ ณ วันนี้ลงทุหนึ่งส่วนได้กำไรสองส่วน ถือเป็นความพึงพอใจที่ดียิ่ง มีกิน มีเก็บ มีใช้ ยามเจ็บไข่ไม่เดือนร้อน ได้พึ่งพาตัวเอง
11. ทำนาต้นทุนต่ำด้วยการจัดการธาตุอาหาร
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/10/50)
ชาวนาเป็นอาชีพที่นับวันจะหาลูกหลานสานต่อยาก พื้นที่นนาแต่ละแห่งจึงเต็มไปด้วยผู้สูงวัย หรือชาวนาเถ้าแก่ วันนี้ได้ปรับเปลี่ยนมาเป็นยุคไร้เคียว
10. เกษตรยั่งยืนกับแหล่งที่มาของธาตุอาหารในดิน
โดย ศ.ดร.สรสิทธิ์ วัชโรทยาน (22/08/50)
ปัจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพืชมี 2 ปัจจัยหลักๆ คือ พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม พันธุกรรมเป็นลักษณะที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อและแม่พันธุ์ ส่วนสิ่งแวดล้อมนั้นประกอบด้วยสิ่งที่อยู่รอบตัวพืช ซึ่งเป็นทั้งสิ่งที่มีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต
9. ดินคือรากฐานของสังคมไทย
โดย ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ (01/08/50)
พืชเจริญเติบโตและให้ผลผลิตดีต่อเมื่อพันธุ์พืชนั้นเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ( ดิน-น้ำ-ลม-ไฟ) รวมทั้งเกษตรกรมีความสามารถในการจัดการทุกสิ่งที่เกี่ยวข้อง ( ปุ๋ยและยาฆ่าโรค-แมลง-ศัตรูพืช) ได้อย่างลงตัว
8. ความสำเร็จของการใช้ปุ๋ยสั่งตัด
โดย ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ (25/01/50)
ตัวอย่างแรกของความสำเร็จของโครงการ “ การจัดการธาตุอาหารเฉพาะพื้นที่ในการเพิ่มมาตรฐานชีวิตของเกษตรกร เมื่อปี 2544 กรมส่งเสริมการเกษตรได้สนับสนุนให้นักวิจัยของโครงการวิจัยฯ อบรมเกษตรกร 200 คน และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 200 คน จาก 10 จังหวัด
7. ดิน ทรัพยากรธรรมชาติที่ควรบำรุงรักษา
โดย ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ (25/01/50)
ดินเกิดจากการสลายตัวของหินและแร่ ผสมกับซากพืชซากสัตว์ที่ตายทับถมกันเป็นเวลาหลายล้านปี ดินหลังจากเปิดป่าใหม่จะเป็นดินที่อุดมสมบูรณ์ดี เมื่อใช้ดินทำการเพาะปลูกติดต่อกันเป็นเวลานาน ดินจะมีสภาพเสื่อมโทรมลง ธาตุอาหารหรือปุ๋ยเดิมในดินจะหมดไป
6. ปุ๋ย สารประกอบที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
โดย ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ (25/01/50)
ปัจจุบันมีความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่าปุ๋ยยังไม่ถูกต้องครบถ้วนนัก ส่วนหนึ่งอาจเกิดจากการได้รับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะแนวความคิดที่ชักนำให้เข้าใจกันผิดๆ ว่าปุ๋ยเคมีเป็นสารประเภทเดียวกับสารกำจัดศัตรูพืช จึงก่อให้เกิดกระแสสังคมที่ต้านการใช้ปุ๋ยเคมี
5. การผลิตอ้อยในรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/12/48)
รัฐฟลอริดาเป็นแหล่งปลูกอ้อยใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีพื้นที่ปลูกประมาณ 1.1 ล้านไร่ และประมาณ 99% เป็นอ้อยเพื่อผลิตน้ำตาล ส่วนที่เหลือเก็บไว้ใช้เป็นท่อนพันธุ์
4. การผลิตข้าวนาชลประทานที่รัฐแคลิฟอร์เนีย
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/10/48)
การปลูกข้าวในสหรัฐอเมริการทำได้เพียงปีละ 1 ครั้ง เพราะอากาศหนาวมากในฤดูหนาวรัฐแคลิฟอร์เนียอยู่ในระดับสูงเท่ากับปักกิ่งประเทศจีน ต้นทุนการผลิตข้าวประมาณ 10 บาทต่อกิโลกรัม และราคาขาย 11.50 บาทต่อกิโลกรัม ผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 16-20 ตัน/ไร่
3. ชุดตรวจสอบปุ๋ยตกค้างในน้ำ
โดย นสพ.คมชัดลึก (04/10/47)
เมื่อก่อนเคยได้ยินว่าผงซักฟอกที่ขายในเมืองไทย เป็นตัวการหนึ่งที่ทำให้น้ำในแม่น้ำลำคลองเน่าเสีย เพราะว่ามีสารประกอบฟอสเฟตตกค้างสูง ผลที่ตามมาก็คือผู้ผลิตผงซักฟอกต่างก็เปลี่ยนสูตรของตัวเองกันใหม่
2. การจัดการธาตุอาหารเฉพาะพื้นที่สำหรับข้าวโพด
โดย ประชาคมวิจัย (15/03/46)
ข้าวโพดเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญของประเทศ ข้าวโพดที่ผลิตได้ส่วนใหญ่นำไปใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์พื้นที่ที่ปลูกข้าวโพดทั้งประมาณมีประมาณ 10 ล้านไร่ แหล่งปลูกข้าวโพดที่สำคัญของประเทศอยู่ใน จ.ลพบุรี นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ และนครราชสีมา
1. การผลิตข้าวโพดที่สหรัฐอเมริกา
โดย วารสารเคหการเกษตร (15/10/45)
ได้พบกับผู้แทนบริษัท ไพโอเนียร์ จำกัด ที่สถาบันวิจัย Johnston บริษัทนี้มียอดการขายสูงถึง 2 พันล้านเหรียญสหรัฐต่อปี มีงบประมาณสำหรับวิจัย 250 ล้านเหรียญต่อปี มีส่วนแบ่งตลาดเมล็ดข้าวโพด 40% และถั่วเหลือง 20%
บทความ (ล่าสุดปัจจุบัน)